วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

Package Design-thitiwajara-arti3314

Package Design-thitiwajara-arti3314 

Mood Board-thitiwajara-arti3314

Mood Board-thitiwajara-arti3314

การนำเสนอโครงการออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ ยาจุดกันยุง ตรา Qto

แชร์แม่แบบการนำเสนอด้วย google presentation

วันพุธที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

Sketch Design 2

Sketch Design 2

thitiwajara-arti3314

thitiwajara-arti3314:
3D model by thitiwajara สร้างโดยโปรแกรม SketchUp

Mood Board - thitiwajara-arti3314

Mood Board - thitiwajara-arti3314

Qto Package Design

Qto Package Design

SketchUp Design

วันพุธที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2555

arti3314-thitiwajara-บรรจุภัณฑ์ยาจุดกันยุง Qto


arti3314-thitiwajara-ยาจุดกันยุง Qto

arti3314-thitiwajara-ยาจุดกันยุง Qto:

3D model by thitiwajara
arti3314-thitiwajara-ยาจุดกันยุง Qto

ตัวอย่าง Banana Candy-arti3314-Washira

Banana Candy-arti3314-Washira:



แบบจำลอง 3D โดย
ARtt Winchester Zirberous
งานออกแบบบรรจุภัณฑ์ กล้วยบ่อกรุ
นายวชิระ วิชิตยุทธภูมิ
รหัสนักศึกษา 5111302419
ออกแบบนิเทศศิลป์
มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม

ตัวอย่าง alongkorn-arti3314-test101-banana box

alongkorn-arti3314-test101-banana box:



แบบจำลอง 3D โดย
อลงกรณ์
อลงกรณ์ ตู้ธีระ รหัส 5111311956 กล่องบรรจุภัณฑ์กล้วยม้วนนิ่ม

TANGO Shrink Wrap Machine for Printed Film

วันอังคารที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555


ต้นแบบสัญลักษณ์แบบสีและขาวดำ ,รูปแบบตัวอักษร ,ตัวอย่างสี


การขึ้นแบบนำเสนอในรูปแบบ 3D ด้วยโปรแกรม Google Sketch Up
ของผลิตภัณฑ์ยาจุดกันยุงตรา "Qto"

วันอาทิตย์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2555

บรรจุภัณฑ์ กล่องยาจุดกันยุง 
โดยใช้ต้นแบบของยาจุดกันยุงตรา คินโช


วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2555


Pepsi Next



After hearing about the new Pepsi NeXT design we started the the conversation here. Below Richard shares his critque of the new can.
This March, soft drinks manufacturer and global brand Pepsi is set to launch Next, a new ‘mid-range’ cola that contains 60 calories positioning it between its regular and diet cola varieties. Next is Pepsi’s second foray into this currently underdeveloped category following the poor reception and discontinuation of the similarly positioned Pepsi Edge in 2005.

"The drink comes as people increasingly move away from sugary drinks to water and other lower-calorie beverages because of health concerns. It's also an attempt by Pepsi to revive the cola wars against Coke and others." via Huffington Post

Disregarding the ridiculous rationalisation of Pepsi’s rebrand conducted by the Arnell Group in 2008 (see their Gravitational Field document here), the new packaging solution, perhaps spurred on by Coke’s simplified, retrospective approach, delivered a far more distinctive and contrasting personality through a distilled packaging layout and proprietary typeface. This typeface, utilised across Diet Pepsi and initially Pepsi Max, helped to define a minimal and contemporary packaging philosophy with a blend of fine and consistent line weights, a crescentic geometric construction and a generous horizontal stretch. Next breaks this format by mixing curved and sharp terminals and junctions, cues from the Pepsi typeface and a upper-case lower-case contrast reminiscent of NeXT computers. Unfortunately this attempt to further customise what is a fairly conventional and dull typeface (only the ‘e’ feels truly proprietary) appears inconsistent, delivering neither a visually appropriate extension of the Pepsi brand or enough unique character (something Pepsi Max arguably now has) to define it as innovative or remotely ‘next generation’. For me a range of weights across the proprietary typeface would have perhaps been a more appropriate long-term and manageable direction for Pepsi’s frequently expanding and contracting product offering.

The introduction of a ribbon detail feels like an extremely strange choice considering the significant association such a form has with the Coca-cola brand. This alongside the logo-type adds more unnecessary inconsistencies and superfluous detail to what was originally quite a refreshing design.The new lighter blue and thin print treatment is a really nice choice that like the other varieties utilises the natural metallic qualities of the aluminum can. This really helps to reinforce the brand’s contemporary aesthetic and contrasts well against Coke’s classic approach. Unfortunately this is not likely to be as striking across the labels of the PET bottles but used in conjunction with a gradient (expanding on the black silver transition of Pepsi Max) should appropriately visualise its middle ground ‘blend’ and position it slightly outside of Pepsi’s core product range.Next might indeed hold more appeal to the consumer of 2012 but the visual translation of the middle-ground proposition (and perhaps cross gender aspirations) ultimately appears confused and unresolved. It neither sits comfortably alongside the Pepsi brand or as a personality of its own.



หลังจากที่ได้ยินเกี่ยวกับการออกแบบเปปซีโฉมใหม่ ที่ได้มีการเริ่มต้นเจรจากับ ชิชาร์ด และเขาสามารถสร้างมันขึ้นมาได้
เมื่อเดือนมีนาคมนี้ บริษัท ผู้ผลิตเครื่องดื่มเป๊ปซี่และแบรนด์ระดับโลกที่มีการตั้งค่าเพื่อเดินหน้าต่อสำหรับ, โคล่า 'ช่วงกลาง' ใหม่ที่มีแคลอรี่60แคลอรี่ เพื่อเป็นเครื่องดื่มโคลา ถัดไปคือการโจมตีที่สองของเป๊ปซี่ในประเภทด้อยพัฒนาอยู่ในขณะนี้ต่อไปการรับยากจนและยกเลิกการวางตำแหน่งในทำนองเดียวกันเป๊ปซี่ขอบในปี 2005


เครื่องดื่มที่มีความหวานและน้ำตาล ไม่เป็นที่ต้องการของคนรักสุขภาพเท่าไรนัก จึงได้มีการคิดค้นการควบคุมแคลลอรี่ เช่นเดียวกับโค้ก และน้ำอัดลมอื่นๆ


ในการออกแบบผลิตภัณฑ์เปปซี่โฉมใหม่นั้น ได้มีการออกแบบ รูปแบบและแบบอักษรที่เป็นกรรมสิทธิ์ อักษรนี้ไปใช้ในอาหารเป๊ปซี่และเป๊ปซี่แม็กซ์ครั้งแรกช่วยในการกำหนดปรัชญาบรรจุภัณฑ์น้อยที่สุด


ในการออกแบบเปปซี่โฉมใหม่นั้น ใช้แนวคิดที่ว่า ไม่ต้องมีความสอดคล้องกับสินค้ามากนัก แต่เน้นที่ว่าดูแล้วสดชื่น มีการพิมพ์ลายที่เบา และบาง โดยสีฟ้า เป็นทางเลือกที่ดีในการพิมพ์ลงโลหะอลูมิเนียม ซึ่งโดยสมัยก่อน ความน่าสนใจในการออกแบบนั้นเป็นของความคลาสสิคของโค้ก แต่ในปัจจุบันเปปซี่ได้นำการไล่ระดับสี โดยใช้สีน้ำเงินและสีดำในแบบของเปปซี่แม็กซ์ ได่อย่างเหมาะสมและลงตัว



จากแหล่งที่มา http://www.thedieline.com/blog/2012/3/15/crit-pepsi-next.html

thitiwajara-arti3314-CAKEBOX

thitiwajara-arti3314-CAKEBOX:

3D model by thitiwajara
thitiwajara-arti3314-CAKEBOX แบบฝึกทำกล่องเค้ก

วันอังคารที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2555


โครงการออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์คู่แข่งของสินค้ายาจุดกันยุง

การออกแบบวิเคราะห์ข้อมูลบรรจุภัณฑ์คู่แข่งขัน
ขั้นตอน ส.1
โดย นาย ฐิติวัชร พงษ์ศักดิ์ รหัส 5111312616
ชื่อสินค้าที่ศึกษา ยาจุดกันยุงคินโช
ประเภท อุปโภค
สถานะของผลิตภัณฑ์ เป็นขด ใช้จุดไฟ



1.ส่วนประกอบของโครงสร้างบรรจุภัณฑ์
ใช้เทคนิค/วิธีการ/แท่นปั้ม
รูปลักษณ์ที่ปรากฎ กล่องสี่เหลี่ยมจัตตุรัส

 ขนาด 12.5 x 12.5 x 2.5 cm
บรรจุภัณฑ์ขั้นแรกใช้วัสดุ กระดาษแข็ง





2.ส่วนกระกอบทางกราฟิกสื่อสารที่มี




การออกแบบ Logo 
ยาจุดกันยุง ตรา Q'to

แนวคิด
การใช้คำว่า Q นั้น สามารถเล่นคำกับคำว่า Kill ซึ่งแปลหมายถึงการฆ่าได้
แต่ในที่นี้เราจะใช้ให้เป็นภาษาพูดมากกว่า เพื่อให้งานไม่ออกมาดูแรงเกินไป
ส่วนคำที่รวมกันแล้วอ่านว่า คิวโต้ นั้น ก็ดัดแปลงมาจาก mosquito ซึ่งแปลว่ายุงด้วย

วันอังคารที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2555




สินค้า"ยาจุดกันยุง คินโช"

ชื่อสินค้า ยาจุดกันยุง คินโช
ประเภท อุปโภค
ผู้ผลิต บริษัท คอทเชค เคมิเคิล อินดัสทรี่ จำกัด
จัดจำหน่ายโดย บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด(มหาชน)
สถานะ เป็นก้อน รูปขด และใช้จุดไฟ
น้ำหนัก 6คู่ : 12x12 กรัม
ลวดลาย ใช้แถบสีน้ำเงินเข้มคาดหน้ากล่องและมีตัวหนังสือชื่อ สินค้าขนาดใหญ่อยู่ด้านบน ส่วนด้านล่างเป็นรูปของสินค้าภายใน
วัสดุ กระดาษแข็ง
สี แดง
ขนาด 12.5 x 12.5 x 2.5 cm

วันจันทร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2555

วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2555

Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...